ป้ายกำกับ

วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

else if # 3

else if # 3

  คำสั่งที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไขในภาษาซี คำสั่งแรกที่เราจะเรียนรู้กันก็คือ if (แปลว่า “ถ้า”) นั่นคือเราจะใช้ if เพื่อตรวจสอบผลของการเปรียบเทียบว่าเป็น “จริง” หรือ “เท็จ” ถ้า เป็นจริง จะให้ทำอะไรต่อไป และถ้าเป็นเท็จ จะให้ทำอะไรต่อไป (ออกสอบ)

   

ขอบคุณที่มาจาก http://www.cprogramming.com/tutorial/lesson2.html

>     greater than              5 > 4 is TRUE
<     less than                 4 < 5 is TRUE
>=    greater than or equal     4 >= 4 is TRUE
<=    less than or equal        3 <= 4 is TRUE
==    equal to                  5 == 5 is TRUE
!=    not equal to              5 != 4 is TRUE

The structure of an if statement is as follows:
if ( TRUE )
  Execute the next statement

Here is a simple example that shows the syntax:
if ( 5 < 10 )
  cout<<"Five is now less than ten, that's a big surprise";


Else

if ( TRUE ) {
  // Execute these statements if TRUE
}
else {
  // Execute these statements if FALSE
}

Else If

if ( <condition> ) {
  // Execute these statements if <condition> is TRUE
}
else if ( <another condition> ) {
  // Execute these statements if <another condition> is TRUE and
  // <condition> is FALSE
}

ตัวอย่างโปรแกรม รูปแบบเงื่อนไข (ออกสอบ)

#include <iostream>

using namespace std;

int main()                                                        // Most important part of the program!
{
  int age;                                                        // Need a variable...
  
  cout<<"Please input your age: ";                  // Asks for age
  cin>> age;                                                  // The input is put in age
  cin.ignore ( );                                                 // Throw away enter
  if ( age <= 30 ) {                                         // If the age is less than 30
     cout<<"You are pretty young!\n";              // Just to show you it works...
  }
  else if ( age > 31 ) {                                      // I use else just to show an example 
     cout<<"You are old\n";                              // Just to show you it works...
  }
  else {
    cout<<"You are really old\n";                     // Executed if no other statement is
  }
  cin.get( );
}

thank you : http://www.cprogramming.com/tutorial/lesson2.html

วันพฤหัสบดีที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2557

else if #2

else if #2
การกำหนดเงื่อนไขโดยกำหนดวันเป็นหมายเลข



#include <iostream>
#include <conio.h>
int main()
{
int x; char name[10];
 cout<<"Enter the name: ";
cin>>name;
cout<<"What is the first day of weeks?
 Please select the number 1-7.

1.Monday 2.Tuesday 3.Wednesday 4.Thursday 5.Friday 6.Saturday 7.Sunday ";
cin>>x;
switch(x)
{
case 1: cout<<"Monday";
break; case 2: cout<<"Tuesday";
break; case 3: cout<<"Wednesday";
break; case 4: cout<<"Thursday";
break; case 5: cout<<"Friday";
 break; case 6: cout<<"Saturday";
break; default: cout<<"Sunday";
break;
 }
if(x==1)
{
cout<<" Total score = 5"<< x;
}
else if(x==2)
{
cout<<" Total score = 0"<<x;
 }
else if(x==3)
{
cout<<" Total score = 0"<<x;
 }
else if(x==4)
{
cout<<" Total score = 0"<<x;
 }
else if(x==5)
{
cout<<" Total score = 0"<<x;
}
else if(x==6)
{
cout<<" Total score = 0"<<x;
 }
else if(x==7)
{
cout<<" Total score = 0"<<x;
}
getch( );
 }

else if #1

else if  #1(ไม่มีทศนิยม)

if ตัวนี้แปลว่า ถ้า ครับ แสดงค่าแบบ เงื่อนไข
เช่น ถ้าวันนี้ฝนตก ฉันจะไม่ไปโรงเรียน แต่ถ้าฝนไม่ตกฉันก็ไม่ไปโรงเรียน (ถุ้ย!!)ฉันจะไปโรงเรียน
if else ใช้ในกรณีมี 2 ทางเลือก
แต่ if else if คือใช้เมื่อมีมากกว่า2ทางเลือก เช่น ผลเกรดเป็นต้น (เพราะมีหลายทางเลือกการให้คะแนน)


 Thank you http://byterevel.com

#include<stdio.h>
#include <stdlib.h>
#include<conio.h>
main()
{
int score;
 printf("Plese enter your score : ");
 scanf("%d",&score);
if ((score>=0)&&(score<=50))        |-- กำหนดถ้าเงื่อนไขว่า คะแนน 0-50
{printf("You got grade : F");}      |-- แสดงเกรด F
 else if ((score>=51)&&(score<=60)) |-- แต่ถ้ามากกว่า 51-60
{printf("You got grade : D");}      |-- แสดงเกรด D
 else if ((score>=61)&&(score<=70))
{printf("You got grade : C");}
 else if ((score>=71)&&(score<=80))
{printf("You got grade : B");}
 else if ((score>=81)&&(score<=90))
{printf("You got grade : A");}
 else printf("INPUT ERROR");
getch();
}

วันจันทร์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2557

Add two numbers

Add two numbers

add two numbers รับค่า 2 ตัวเลข

#include<iostream.h>
main()
{
int a;
int b;
cout<<"Enter First Number: ";
cin>>a;
cout<<"Enter Second Number:";
cin>>b;
cout<<"REsult is = "<<a+b<<endl;
system ("pause") ;
}

-----------------------------------------------

โค้ดรับค่า 2 ตัว โดยกำหนดให้
int  a ค่าที่ 1
int  b ค่าที่ 2

แสดงค่าใน "....." ว่า "Enter First Number"
cout<<"Enter First Number: ";

เก็บค่าด้วยcin>>a;
cin>>b;

นำมาคำนวนcout<<"REsult is = "<<a+b<<endl;
** ลองปรับการใช้งานตามโจทย์ต่างๆ และเพื่มตัวแปรด้วยตัวเองนะครับ



เบื่อวันที่ฝนตกมากครับ ตากผ้าที่ไร ไม่เคยแห้งเลย // แมวบ้านผมบอกมา

เขียนโปรแกรมคำนวณอย่างง่าย

การแทนค่าและประกาศค่าตัวแปร (คำนวณอย่างง่าย)


การแทนค่าและประกาศค่าตัวแปร (คำสั่งบวกเลข)
   หลังจากเรียนเรื่องโครงสร้างภาษาซี และได้รู็จักคำสั่งง่ายอย่างแสดงค่าทางหน้าจอ std::cout << "...\n"; คำสั่งต่อไปที่จะเรียนกันคือ คำสั่ง ประกาศค่าตัวแปร และการแทนค่า ซึ่งคำสั่งการแทนค่าใช้ตัวแปรคือ int หรือ integer(จำนวนเต็ม)ถ้าเราได้เรียนเกี่ยวกับการแก้โจทย์คณิตศาสตร์ หรือที่รู้จักกันดีก็คือ การแก้สมการนั้นเอง
ยกตักอย่างเช่น x+y=10 จงหาค่า x และ y มีค่าเท่าไหร่
  ซึ่งในโจทย์ที่นักเรียนเห็นนั้น พวกเราเริ่มมีกระบวนการคิดได้มากมายหลายอย่าง
นาย ก ได้ 1+9=10 นาย ข ได้ 8+2=10 นาย ค 5+5=10 ถ้าคิดในทางคณิตศาสตร์การคิดแบบนี้ถึงว่าถูกต้อง แต่ในการเขียนโปรแกรมอาจไม่สามารถคำนวนได้ เราจึงจำเป็นต้องกำหนดค่า int แทนค่า x และ yในคำสั่งนั้นด้วย

การแทนค่าสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
  บวก  ใช้สัญลักษณ์  +
  ลบ   ใช้สัญลักษณ์  -
  คูณ   ใช้สัญลักษณ์  *
  หาร   ใช้สัญลักษณ์  /

-------------------------------------------

ตัวอย่างโครงสร้างโปรแกรมคำนวณ

[1] #include <iostream>
     using namespace std;
[2]  int main ()
     {
[3]  int x = 9;
     int y = 7;
[4]  cout << "\n x + y : " << x + y << endl;
     system ("pause");
     }

อธิบายโปรแกรม

 บรรทัดที่ 1: เป็นการบอกให้คอมไพเลอร์นำเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อ <iostream> เป็น library ที่เก็บ function ต่างๆ ซึ่ง iostream เป็นไฟล์ที่รวมคำสั่งเกี่ยวกับการรับค่าและแสดงผลข้อมูลครับ คือคำสั่ง cin กับ cout นั่นเอง
 
 บรรทีดที่ 2 : คือ ฟังก์ชั่น int main () // มีการส่งค่าแบบ integer กลับ integer ใช้กับ จำนวนเต็ม เช่น 1 ,20 ,300 (ตัวเลขทั่วไป)

  บรรทีดที่ 3 : คือ เป็นการแทนค่า int เป็น  x มีค่าเท่ากับ = 9;
               
เป็นการแทนค่า int เป็น   y มีค่าเท่ากับ = 7;

 บรรทีดที่ 4 : คือ cout แสดงค่าทางหน้าจอในเครื่องหมาย "..."
 โดยแสดงค่าให้ << x + y << endl; นำมา + กัน (ค่าที่แทนจาก x y )ถ้าจะมีการคำนวนอีกก็เพิ่มคำสั่งและตัวแปรในการแทนค่าไปอีก
 -------------------------------------------

แบบฝึกหัดท้ายคาบ
 
1. กำหนดให้ัตัวแปร 1 ชุด แต่มีการคำนวนในโจทย์ โดยมีการ บวก ลบ คูณ หาร

2. กำหนดชุดตัวเลข 1 บวก 2 ลบ 3 คูณ 4 หาร 5 เท่ากับเท่าไหร่

 ------------------------------------------- 


โหลด ชั้นสิ โปรแกรม dev c setup.rar

โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี


รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
โครงสร้างภาษาซี c++



โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
1. ส่วนหัวของโปรแกรม
2
. ส่วนของฟังก์ชั่นหลัก 

3. ส่วนรายละเอียดของโปรแกร
ภาพจาก sites.google.com/site/programingmpp

1. ส่วนหัวของโปรแกรม
›  ส่วนหัวของโปรแกรมนี้เรียกว่า Preprocessing Directive ใช้ระบุเพื่อบอกให้คอมไพเลอร์กระทำการใด ๆ ก่อนการแปลผลโปรแกรม ในที่นี่คำสั่ง #include <stdio.h> ใช้บอกกับคอมไพเลอร์ให้นำเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุ คือ stdio.h เข้าร่วมในการแปลโปรแกรมด้วย
โดยการกำหนด preprocessing directives นี้จะต้องขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # เสมอ

2. ส่วนของฟังก์ชั่นหลัก 
 ›ฟังก์ชั่นหลักของภาษาซี คือ ฟังก์ชั่น main( ) ซึ่งโปรแกรมภาษาซีทุกโปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชั่นนี้อยู่ในโปรแกรมเสมอ จะเห็นได้จากชื่อฟังก์ชั่นคือ main แปลว่า “หลัก” ดังนั้น การเขียนโปรแกรมภาษซีจึงขาดฟังก์ชั่นนี้ไปไม่ได้ โดยขอบเขตของฟังก์ชั่นจะถูกกำหนดด้วยเครื่องหมาย { และ } กล่าวคือ การทำงานของฟังก์ชั่นจะเริ่มต้นที่เครื่องหมาย { และจะสิ้นสุดที่เครื่องหมาย } ฟังก์ชั่น main() สามารถเขียนในรูปแบบของ void main(void) ก็ได้ มีความหมายเหมือนกัน คือ หมายความว่า ฟังก์ชั่น main() จะไม่มีอาร์กิวเมนต์ (argument) คือไม่มีการรับค่าใด ๆ เข้ามาประมวลผลภายในฟังก์ชั่น และจะไม่มีการคืนค่าใด ๆ กลับออกไปจากฟังก์ชั่นด้วย

3. ส่วนรายละเอียดของโปรแกรม
› เป็นส่วนของการเขียนคำสั่ง เพื่อให้โปรแกรมทำงานตามที่ได้ออกแบบไว้
#include <iostream>
int main()
    std::cout << "................ \n";
    std::cout << "............\n";
    std::cin.get();
    return 0;
}

คอมเมนต์ในภาษาซี  ใช้เครื่องหมาย // คอมเมนต์ (comment) คือส่วนที่เป็นหมายเหตุของโปรแกรม มีไว้เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมใส่ข้อความอธิบายกำกับลงไปใน source code ซึ่งคอมไพเลอร์จะข้ามมาแปลผลในส่วนที่เป็นคอมเมนต์ เช่น // your name // ตามด้วยคำพูด
std::cout << "............\n"; // your word
std::cout << "............\n"; // your name

ตัวอย่าง
โปรแกรมให้นักเรียนศึกษาโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี

[1] #include <iostream.h>

[2] int main()
[3] { 
     std::cout << "Feel Good\n";
     std::cout << "Can you see me\n"; 
     std::cin.get();
[4] system ("pause");
[5] }


อธิบายโปรแกรม
บรรทัดที่ 1: เป็นการบอกให้คอมไพเลอร์นำเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อ <iostream> เป็น library ที่เก็บ function ต่างๆ ซึ่ง iostream เป็นไฟล์ที่รวมคำสั่งเกี่ยวกับการรับค่าและแสดงผลข้อมูลครับ คือคำสั่ง cin กับ cout นั่นเอง

บรรทัดที่ 2คือ ฟังก์ชั่น int main () ซึ่งเป็นฟังก์ชั่นหลักของโปรแกรม การทำงานของโปรแกรมภาษาซีจะเริ่มต้นที่ฟังก์ชั่นนี้
void main() // ไม่มีการส่งค่ากลับ
int main() // มีการส่งค่าแบบ integer กลับ

บรรทัดที่ 3เครื่องหมาย ระบุจุดเริ่มต้นของฟังก์ชั่น int main()
คำสั่ง std::cout << "Feel Good\n"; ซึ่งเป็นฟังก์ชั่นมาตรฐานของภาษาซีทำหน้าที่แสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ ในที่นี้จะแสดงข้อความ
"Feel Good" และ "Can you see me"
\ n คือคำสั่ง การเว้นบรรทัด

บรรทัดที่ 4: เป็นการเรียกใช้ฟังก์ชั่น system ("pause");คือให้หยุดน่าจอ 

บรรทัดที่ 5: เครื่องหมาย } ระบุจุดสิ้นสุดของฟังก์ชั่น main()

มีโปรแกรมให้ ดาวน์โหลด แล้วนะครับ  dev c setup.rar
http://www.mediafire.com/?c890gy6v01u35dr
วิธีแตกไฟล์ zip คลิกขวา Extract Here สามารถลงโปรแกรมได้เลย