ป้ายกำกับ

วันอาทิตย์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2558

โค้ดการคำนวนแบบใช้ ตัวแปรเข้าช่วย

โค้ดการคำนวนแบบใช้ ตัวแปรเข้าช่วย ยังไงลองทำดูนะครับ

#include <iostream>
using namespace std;
int main()
{
    int 
s_width; //กำหนดตัวแปร 2 ตัว
    int 
s_long;
    cout << "
Find Area Program " << endl; ----------------// แสดงค่าทางหน้าจอเพื่อถามเราว่า หาพื้นที่
    cout << "Width : "; -------------------------------------------// ค่าความกว้าง
    cin >> s_width; ------------------------------------------------// รับค่าทางคีย์บอร์ด
    
cout << "Long : "; -------------------------------------------// ค่าความยาว
    cin >> s_long; -------------------------------------------------// รับค่าทางคีย์บอร์ด
    cout << "Area : " <<
 (s_width * s_long) << " unit " << endl; // คำนวนในโยคนี้

    system("pause");
}

   ตัวแปร หมายถึงชื่อเรียกแทนพื้นที่เก็บของข้อมูลในหน่วยความจำ ซึ่งจะมีชนิดของข้อมูลมีชนิดของข้อมูล หรือรูปแบบของตัวแปรคือ char, int, long, float, double, unsigned int, unsigned long int โดยชื่อของตัวแปรนี้ เราสามารถกําหนดเป็นกลุ่มตัวอักษรที่ผู้เขียนโปรแกรมสามารถกําหนดขึ้นเองได้ โดยมีข้อกําหนดดังนี้ • ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็กและตัวพิมพ์ใหญ่ ในภาษาC++ จะถือว่าเป็นตัวแปรคนละตัวกัน เช่น test และ Test จะเป็นตัวแปรคนละตัวกัน • ตัวอักษรตัวแรกต้องเป็นตัวอักษรหรือ _ (underline character) จะเป็นตัวเลขไม่ได้ • ตัวอักษรที่ไม่ใช่ตัวแรกจะเป็นตัวอักษรหรือ _ หรือตัวเลขก็ได้ ชื่อของตัวแปรที่ห้ามตั้งซ้ำกับคําสงวนของ C++ asm, auto, bool, break, case, catch, char, class, const, const_cast, continue, default, delete, do, double, dynamic_cast, else, enum, explicit, extern, false, float, for, friend, goto, if, inline, int, long, mutable, namespace, new, operator, private, protected, public, register, reinterpret_cast, return, short, signed, sizeof, static, static_cast, struct, switch, template, this, throw, true, try, typedef, typeid, typename, union, unsigned, using, virtual, void, volatile, wchar_t การประกาศตัวแปร 



การเขียนโปรแกรมขนาดเล็กในแต่ละครับควรศึกษาวางแผนการดีๆสะก่อนว่าตัวแปรที่เราใช้นั้นควรใช้ชนิดใดนั้นเอง (อ้วกกกกกกก)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น